Documentation of Oct 6

รายงานเอกสารเกี่ยวกับ พคท. ในหอจดหมายเหตุธรรมศาสตร์​ (TU archives CPT doct)

http://www.2519.net/newsite/2016/991/

หัวข้อที่ 4 เอกสารจากหอจดหมายเหตุธรรมศาสตร์

26 กรกฎาคม 2018adminเอกสารจากหอจดหมายเหตุธรรมศาสตร์

เอกสารจากหอจดหมายเหตุธรรมศาสตร์

เอกสารมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

(2) มธ.2.14.3 เหตุการณ์ทางการเมือง
– (2) มธ.2.14.3/4 การดำเนินคดีระหว่าง มธ. – นสพ.สยามมิศร์ (2519)
– (2) มธ.2.14.3/5 แฟ้มเกี่ยวกับเหตุการณ์ มธ. และยานเกราะ (2519)
– (2) มธ.2.14.3/6 ประท้วงการกลับของ จอมพลประภาส จารุเสถียร (2519)

(2) มธ.2.14.3.3 เหตุการณ์ไม่สงบสิงหาคม 2518
– (2) มธ.2.14.3.3/1 เตรียมป้องกันเหตุการณ์ไม่สงบ วันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ.2518 (2518 – 2519)
– (2) มธ.2.14.3.3/2 การชุมนุนประท้วงรัฐบาล การจับกุมชาวนา – นักศึกษา 5 – 15 สิงหาคม พ.ศ.2518 (2518)
– (2) มธ.2.14.3.3/3 เหตุการณ์ไม่สงบตั้งแต่วันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ.2518 (2518)
– (2) มธ.2.14.3.3/4 จดหมายจากคนภายนอก กรณี 20 สิงหาคม พ.ศ.2518 (2518)
– (2) มธ.2.14.3.3/5 รับหมายศาลเป็นพยาน (20 ส.ค.2518) (2518)
– (2) มธ.2.14.3.3/6 เหตุการณ์วันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ.2518 (2518)

(2) มธ.2.14.3.4 เหตุการณ์เดือนสิงหาคม 2519
(2) มธ.2.14.3.4/1 เหตุการณ์เดือนสิงหาคม พ.ศ.2519 (2519)
(2) มธ.2.14.3.5 เหตุการณ์ตุลาคม 2519
-(2) มธ.2.14.3.5/1 คณะปฏิรูปการปกครอง (2519)
-(2) มธ.2.14.3.5/2 เอกสารเกี่ยวกับการประท้วงและเหตุการณ์จราจล (2519)
-(2) มธ.2.14.3.5/3 แฟ้มเกี่ยวกับเหตุการณ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และยานเกราะ (2519)
-(2) มธ.2.14.3.5/4 จอมพลถนอม กิตติขจร (2519)
-(2) มธ.2.14.3.5/5 เกี่ยวกับเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 (2519)
-(2) มธ.2.14.3.5/6 แฟ้มประกันตัวเจ้าหน้าที่และนักศึกษา พ.ศ.2519 (2519)
-(2) มธ.2.14.3.5/7 รายชื่อนักศึกษาที่เข้าสอบ วันที่ 3 – 4 ตุลาคม พ.ศ.2519 (2519)
-(2) มธ.2.14.3.5/8 นักศึกษาสูญหายและเสียชีวิต (2519
-(2) มธ.2.14.3.5/9 จำนวนนักศึกษาเข้าสอบและขาดสอบกรณีหลัง 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 (2519)
-(2) มธ.2.14.3.5/10 นักศึกษาขอผัดผ่อนและขอเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์จากเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 (2519 – 2522)
-(2) มธ.2.14.3.5/11 กิจกรรมนักศึกษาหลัง 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 (2519 – 2521)
-(2) มธ.2.14.3.5/12 รายชื่อผู้ต้องหา เมื่อ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 (2519)

เอกสารชุด พคท.
หมวด A: พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พ.ค.ท.)
A 1 การศึกษา
A 1.3 การวิเคราะห์ข่าว
-A 1.3/7 บทความจากหนังสือพิมพ์อินเตอร์เนชั่นแนลบูเลทิน: การรัฐประหารที่มีการวางแผนอย่างรอบคอบในประเทศไทย (2520). (4 แผ่น)
-A 1.3/26 คดีเลือดแห่งตุลาประชาชนจะต้องทวงคืน (2521). (2 แผ่น)
-A 1.3/40 จดหมายเปิดผนึกจากกรรมการองค์การนักศึกษา ปีการศึกษา 2518 – 2519 และปีการศึกษา 2519 – 2520 ถึงนักศึกษา อาจารย์ ข้าราชการ และลูกจ้างมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (16 มิ.ย.2520). (4 แผ่น)
-A 1.3/47 ช่วงชิงสถานการณ์ให้เป็นประโยชน์เชิดชูจิตใจวีรชน 6 ตุลาคม (2522). (2 แผ่น)
-A 1.3/51 ดร. ป๋วย ที่ลอนดอน (2522). (8 แผ่น)
-A 1.3/54 แถลงการณ์เรียกร้องให้ปล่อย 18 นักศึกษา (2521). (1 แผ่น)
-A 1.3/55 ทหารพระราชวังและฝ่ายขวาในรัฐประหาร 6 ตุลาคม (2521). (2 แผ่น)
-A 1.3/57 วูลลาคอทท์, มาติน. ทำไมกองทัพจึงตัดสินใจก่อรัฐประหาร (28 ต.ค.2519). (4 แผ่น)
-A 1.3/58 นิสิตนักศึกษา: จากวีรชนมาถูกดูหมิ่นเหยียบย้ำ (7 ต.ค.2519). (2 แผ่น)
-A 1.3/76 ปลดปล่อยคุณสุธรรม แสงประทุม และเพื่อนโดยไม่มีเงื่อนไข (28 ก.ค.2520). (2 แผ่น)
-A 1.3/58 นิสิตนักศึกษา: จากวีรชนมาถูกดูหมิ่นเหยียบย้ำ (7 ต.ค.2519). (2 แผ่น)
-A 1.3/76 ปลดปล่อยคุณสุธรรม แสงประทุม และเพื่อนโดยไม่มีเงื่อนไข (28 ก.ค.2520). (2 แผ่น)
-A 1.3/105 รายชื่อผู้ต้องหาควรสั่งฟ้องข้อหาคอมฯ และอาวุธ (2519). (5 แผ่น)
-A 1.3/111 เลือดท่วมธรรมศาสตร์ (2519). (3 แผ่น)
-A 1.3/116 วิเคราะห์ข่าวฉบับพิเศษเดือนกันยายนรับขวัญผู้บริสุทธิ์ 18 คน และรับมือการโยกย้ายขุนศึก (2520). (4 แผ่น)
-A 1.3/178 6 ตุลาคม 2519 – 20 ตุลาคม 2520 การยกก้อนหินทุ่มขาตัวเองของชนชั้นปกครอง (6 ต.ค.2519 – 20 ต.ค.2520). (4 แผ่น)
-A 1.3/196 Names of those arrested as being “Persons Endangering Society” since October 1976 Military Coup in
Thailand, According to Thai New papers (2520). (4 แผ่น)
-A 1.3/197 Why was the military coup successful ? (2520). (7 แผ่น)

A1.5 การศึกษาสังคมไทย
-A 1.5/59 รากฐานทางประวัติศาสตร์ของความขัดแย้งใน พคท. กับขบวนการ 14 ต.ค. และ 6 ต.ค. (8 – 12 แผ่น)

A 1.6 คำโฆษณาชวนเชื่อ
A 1.6.1 คำโฆษณาชวนเชื่อ…ทั่วไป
-A 1.6.1/3 คำประกาศต่อสู้ของคุณเกรียงกมล เลาหไพโรจน์, คุณธีรชัย มฤคพิทักษ์, คุณจาตุรนต์ ฉายแสง, คุณจาตุรงค์ บุณยรัตนสุนทร, คุณชูวิทย์ โอวาทวงศ์, คุณสวาย อุดม-เจริญชัยกิจ และคุณบุญส่ง ชาลธร กรรมการศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย (10 ธ.ค.2519). (9 แผ่น)
A 1.6.1/5 สุรชัย จันทิมาธร และคนอื่นๆ. คำประกาศการต่อสู้ของนักดนตรีและนักร้องวงดนตรีเพื่อชีวิต คาราวานและวงดนตรีเพื่อชีวิตโดมฉาย (5 ธ.ค.2519). (6 แผ่น)
-A 1.6.1/6 คำประกาศสืบทอดอุดมการณ์ต่อสู้ของศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทยจนถึงที่สุดของ จาตุรนต์ และจาตุรงค์. (4 แผ่น)

A 1.6.2 คำโฆษณาชวนเชื่อ…ศักดินา
-A 1.6.2/1 กษัตริย์ไทยปัจจุบันกับการรัฐประหาร. (18 แผ่น)
-A 1.6.2/14 สถาบันกษัตริย์กับการรัฐประหาร. (3 แผ่น)

A 8 แนวทางปฏิบัติ
A 8.6 นักศึกษา
-A 8.6/8 การพัฒนาทางความคิดของขบวนนักเรียน นักศึกษา และการเคลื่อนไหว โฆษณาความคิดก้าวหน้ารวมทั้งการคัดค้านทฤษฎีลัทธิแก้ของผิน บัวอ่อน ในขบวนการนักเรียน นักศึกษา และประชาชน (2523). (9 แผ่น)
-A 8.6/44 บทบาทของเยาวชน นักเรียน นักศึกษาในสถานการณ์ปัจจุบัน (2518). (8 แผ่น)
-A 8.6/45 บทบาทของขบวนการนักศึกษาในคดี 6 ตุลา และการเคลื่อนไหวเฉพาะหน้า (2525). (4 แผ่น)

A 8.8 ยุทธศาสตร์
-A 8.8/15 แนวทางทั่วไปของการปฏิวัติไทย (2519). (5 แผ่น)

A 9 บทวิทยุกระจายเสียงประชาชนไทย
-A 9/91 คำสัมภาษณ์โฆษณาพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (5 ต.ค.2524). (4 แผ่น)

A 11 เอกสารรัฐบาลไทย
A 11.1 เอกสารของรัฐบาลไทย
-A 11.1/1 กระทิงแดงออกโรงกวนการชุมนุมสนามหลวงของศูนย์นิสิตฯ (2519).
-A 11.1/9 นสพ. สหรัฐฯ เปิดโปง “นวพล” ได้เงิน ซี.ไอ.เอ. 50 ล้าน ฉีกหน้ากาก วัฒนา เขียววิมล (2519). (2 แผ่น)
-A 11.1/10 บันทึกการประชุมคณะกรรมการบริหารชมรม “ไทยสู้ศึก” (2519). (2 แผ่น)
-A 11.1/12 ชมรม “ไทยสู้ศึก” แผนสู้ศึก 1 (7 พ.ค.2519). (2 แผ่น)
-A 11.1/13 ราชบัลลังก์ถูกเหยียบย้ำ (2521). (2 แผ่น)
-A 11.1/17 สาสน์ถึงประชาชนไทยที่รักชาติ (2519). (2 แผ่น)

A 11.3 เอกสารเพิ่ม
-A 11.3/1 ขอให้ทุกมหาวิทยาลัยและทุกสถาบันประกาศรับนิสิตนักศึกษาที่ต้องพ้นสภาพหลังวันที่ 6 ตุลาคม 2519 (10 ก.พ.2521). (1 แผ่น)

A 12 เอกสาร พ.ค.ท. อื่นๆ
-A 12/79 สมบัติทรราชจากอธิปัตย์ 21 – 23 กันยายน 2519 (23 ก.ย.2519). (15 แผ่น)

หมวด B: เหตุการณ์ทางการเมืองที่เกี่ยวข้องกับนักศึกษา
B 1 กิจกรรมนักศึกษา
B 1.1 มหาวิทยาลัย
B 1.1.13 สโมสรนักศึกษา
-B 1.1.13/4 ความคืบหน้างานรำลึกวีรชนเดือนตุลา: แปรเจตนารมณ์วีรชนเดือนตุลาสู่การปฏิบัติที่เป็นจริง. (3 แผ่น)
-B 1.1.13/43 ขอเชิญเข้าร่วมงาน “รำลึกวีรชนเดือนตุลา” และร่วมวางหรีด, ตักบาตร, ปลูกต้นไม้. (1 แผ่น)
-B 1.1.13/48 เอกสารตุลารำลึก. (1 แผ่น)
B 1.2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
B 1.2.4 องค์การบริหารสโมสรนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
-B 1.2.4/4 แถลงการณ์คัดค้านการกลับมาของทรราชย์ประภาส. (1 แผ่น)
-B 1.2.4/9 สถานการณ์หลังประภาสกลับ. (5 แผ่น)

B 1.7 กิจกรรมร่วมระหว่างนักศึกษาต่างสถาบัน
B 1.7.7 สโมสรนักศึกษา 18 สถาบัน
-B 1.7.7/4 “บทพิเศษ: ขบวนการ นศ. ไทย – เจตนารมณ์ที่ได้รับการสืบทอด” ใน 18’ สถาบัน สัมมนา 18 – 21 เมษายน 2523: 25 – 30.
B 2 เอกสารศึกษา
-B 2/9 เกี่ยวกับการแก้ปัญหาบางประการของขบวนการนักเรียนนักศึกษา (4 พ.ค.2519). (43 แผ่น)
-B 2/10 เสริม เพิ่มพล. เกี่ยวกับการแยกตัวในขบวนการปฏิวัติ (2520). (3 แผ่น)
-B 2/11 ประชา นิรันดร. ขบวนการนักศึกษาควรหันกลับมามองตัวกันเสียที. (4 แผ่น)
-B 2/12 ขบวนการนักศึกษาจะไปทางไหนดี. (3 แผ่น)
-B 2/13 วารินทร์ ชัยรัตน์. ขบวนการนักศึกษาถอยกลับสู่แนวตั้งรับ (29 มี.ค.2524). (12 แผ่น)
-B 2/28 หนังสือพิมพ์แคว้นธรรม ฉบับรำลึกวีรชนเดือนตุลา (2524). (7 แผ่น)
-B 2/42 แถลงการณ์พรรคพลังธรรมฉบับที่ 1 (21 ก.ย.2519). (2 แผ่น)
-B 2/43 ทำไมต้องมีองค์กรผู้ปฏิบัติงาน. (5 แผ่น)
-B 2/49 “เบื้องหลังการกลับมาของถนอม” เอกสารเสนอข้อเท็จจริงสำหรับประชาชน ตะวัน โดยศูนย์ข่าวประชาชน ฉบับที่ 6 (27 ก.ย.2519). (4 แผ่น)
-B 2/56 สุธี ประวัติไทย. พัฒนาการของขบวนการเปลี่ยนแปลงสังคมไทยในระยะหัวเลี้ยวหัวต่อ. (3 – 29 มี.ค.2523). (24 แผ่น)
-B 2/86 สัมภาษณ์ สวาย อุดมเจริญชัยกิจ (2520). (5 แผ่น)
-B 2/94 เหตุการณ์บุกเผาทำลาย มธ. ของอาชีวะ กลุ่มกระทิงแดง (15 ส.ค.2518). (9 แผ่น)
-B 2/95 อาลัย จารุพงษ์ ทองสินธุ์ (2520). (4 แผ่น)
-B 2/103. ’14 ตุลา รำลึก’.
-B 2/107 เอกสารวิเคราะห์สถานการณ์ความเห็นต่อกรณีถนอมเข้าไทย (5 ก.ย.2519). (2 แผ่น)
-B 2/108 การกลับมาของทรราชประภาส. (5 แผ่น)
-B 2/112 E. Thedeus Flood. The Vietnamese Refugees in Thailand: Minority Manipulation in Counterinsurgency. (17 แผ่น)

B 3 เอกสารของทบวงและมหาวิทยาลัยต่างๆ
B3.1 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
-B 3.1/2 ขอให้ทุกมหาวิทยาลัยและทุกสถาบันประกาศรับนิสิตนักศึกษาที่ต้องพ้นสภาพหลังวันที่ 6 ตุลาคม 2519 (10 ก.พ.2521). (1 แผ่น)

B 3.3 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
-B 3.3/1 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ชี้แจงกรณีการบุกรุกทำลายทรัพย์สินของมหาวิทยาลัยเมื่อบ่ายวันที่ 20 สิงหาคม (21 ส.ค.2518). (2 แผ่น)

B 4 เหตุการณ์ 6 ตุลา 2519
-B 4/1 การยึดอำนาจหรือรัฐประหาร 6 ตุลาคม.
-B 4/2 สุภาพ พัสอ๋อง. ข่าวจากสุภาพและเพื่อน. กลุ่มประสานงานศาสนาเพื่อสังคม (2519). (4 แผ่น)
-B 4/3 กลุ่มคนไทยในสหรัฐฯ รณรงค์ใหญ่ (6 เม.ย.2520). (1 แผ่น)
-B 4/4 คนบริสุทธิ์ต้องรับกรรม (2519). (4 แผ่น)
-B 4/5 ชมรมรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ควรปล่อยนักโทษการเมือง (2520). (2 แผ่น)
-B 4/6 ป๋วย อึ๊งภากรณ์. ความรุนแรงและรัฐประหาร 6 ตุลาคม 2519 เจตนาและความทารุณโหดร้าย (28 ต.ค.2519). (13 แผ่น)
-B 4/7 สมัชชาองค์การสหประชาชาติ. คำประกาศ. (1 แผ่น)
-B 4/8 Thai People Democratic Revolutionary Movement (TORM): การเคลื่อนไหวปฏิรูปประชาธิปไตยประชาชนไทย (8 ก.พ.2525). (2 แผ่น)
-B 4/9 สหภาพเพื่อสิทธิมนุษยชนแห่งประเทศไทย. จดหมายเปิดผนึกถึงนายกรัฐมนตรี ฉบับที่ 2 (13 ก.ค.2520). (3แผ่น)
-B 4/10 รัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทยเดินทางไปพูดที่สหรัฐ. (3 แผ่น)
-B 4/11 สุธรรม แสงประทุม. จดหมายของสุธรรม แสงประทุม ถึงฐานันตโรภิกขุ (26 ต.ค. 2520). (2 แผ่น)
-B 4/12 ฐานันตโรภิกขุ ในฐานะรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีชี้แจงต่อ ส.ส. และสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ (3 ต.ค. 2520). (2 แผ่น)
-B 4/13 สุรินทร์ มาศดิตถ์. จดหมายของอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายก ขณะอยู่ในเพศนักบวช เขียนถึงเพื่อนอดีต ส.ส. และสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ (24 ต.ค.2520). (3 แผ่น)
-B 4/14 สุรินทร์ มาศดิตถ์. จดหมายของอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายก ขณะอยู่ในเพศนักบวช เขียนถึงเพื่อนอดีต ส.ส. และสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ (24 ต.ค.2520). (3 แผ่น)
-B 4/15 สุรินทร์ มาศดิตถ์. จดหมายของ สุรินทร์ มาศดิตถ์ ในขณะที่อยู่ในเพศนักบวช เขียนถึงเพื่อนอดีต ส.ส. และสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ (9 พ.ย.2520). (3 แผ่น)
-B 4/16 จดหมายของฐานนตโรภิกขุ (สุรินทร์ มาศดิตถ์) เขียนถึง สุธรรม แสงประทุม (17 ต.ค.2520). (2 แผ่น)
-B 4/17 ดร.ป๋วย แฉเบื้องหลังรัฐประหาร เผยเมืองไทยเข้าสู่ยุคมืด (28 ต.ค.2519). (13 แผ่น)
-B 4/18 ด๊อดเตอร์ป๋วย อึ๊งภากรณ์ที่ลอนดอน (2520). (7 แผ่น)
-B 4/19 บทวิเคราะห์เหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 (2519). (3 แผ่น)
-B 4/20 บทสัมภาษณ์ ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์ เรื่องบรรยากาศการเมืองไทย (19 ม.ค.2520). (2 แผ่น)
-B 4/21 อรุณ อุดมธัญญ์. ขบวนการศึกษา: บทเรียนจากตุลาถึงตุลา (14 ต.ค.2516). (8 แผ่น)
มาตรการการช่วยเหลือครอบครัว (2520). (1 แผ่น)
-B 4/22 สาสน์ถึงประชาชนฉบับพิเศษ คดี 6 ตุลา จุดพิสูจน์ความบริสุทธิ์ใจของรัฐ (พ.ย.2521). (4 แผ่น)
-B 4/23 รายละเอียดการพิจารณาคดี 6 ตุลาคม 2519 (20 ก.พ.2521). (20 แผ่น)
-B 4/24 ลำดับเหตุการณ์การนิรโทษกรรมผู้ต้องหาคดี 6 ตุลา (2519). (4 แผ่น)
-B 4/25 มติมหาชนโลกให้ปล่อยนักโทษการเมือง (มิ.ย.2520). (16 แผ่น)
-B 4/26 องค์การนิรโทษกรรมสากล (อ.น.ส.) (2521). (2 แผ่น)
-B 4/27 องค์การนิรโทษกรรมสากล (2521). (1 แผ่น)
-B 4/28 Evolution of the Thai and Philippine Communist Parties-!: การวิวัฒนาการของพรรคคอมมิวนิสต์ของประเทศฟิลิปปินส์และไทย (2519). (10 แผ่น)
-B 4/29 เกรียกมล เลาหไพโรจน์. สนับสนุนการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยและเสรีภาพของประชาชนไทย (2519). (4 แผ่น)
-B 4/30 บทเพลงบรรยายเสรีภาพของนักต่อสู้ (2519). (9 แผ่น)
-B 4/31 คอมมิวนิสต์สากลมีอำนาจในประเทศไทย (2520). (1 แผ่น)
-B 4/34 National Lawyers Guild (5 July 1978). (1 แผ่น)
-B 4/35 people’s tribune: ผู้พิพากษาของประชาชน (1 ส.ค.2519). (1 แผ่น)
-B 4/36 S. Wattana. Sixth of October Thai United Front for Democracy: 6 ตุลาคม วันประชาชนเรียกร้องประชาธิปไตย (2519). (1 แผ่น)
-B 4/37 The Magician without Magical Instruments a Contrast (2520). (8 แผ่น)
-B 4/38 “New Leader in Thailand (ผู้นำคนใหม่ในประเทศไทย)”, The New York Times (8 ต.ค.2519). (4 แผ่น)
-B 4/39 On Combating Trotskyite Deviations: ทรอสกี้ได้เบี่ยงเบนการต่อสู้ (2519). (4 แผ่น)
-B 4/40 A Nightmare of Lynching and Burning: ผู้ประท้วงถูกรุมประชาทัณฑ์และเผา (2519). (4 แผ่น)
-B 4/41 ประชาชนของอินโดนีเซียร่วมกันต่อต้านการปกครองระบอบฟัสซิสต์ (2510). (32 แผ่น)
-B 4/42 Statement of Protest: คำแถลงการณ์ของผู้ประท้วง (2519). (1 แผ่น)
-B 4/43 A Thai Evening (16 ต.ค.2519). (10 แผ่น)
-B 4/44 Friends of the Thai people in Australia. Thai Information (2519). (4 แผ่น)
-B 4/45 Friends of the Thai people in Australia. ORISA’s appeal and letter: จดหมายอุทธรณ์ของโอริสา (1 พ.ค.2520). (4 แผ่น)
-B 4/46 Moritz, A. Fredric. Thai liftists swing over to guerrillas: ฝ่ายนิยมซ้ายไทยสู้รบแบบกองโจร (27 ต.ค.2519). (4 แผ่น)
-B 4/47 “Thai Leftist ‘Rally crushed in Frenzied Violenced: ผู้ชุมนุมนิยมฝ่ายซ้ายไทยถูกทำร้ายอย่างบ้าคลั่ง”, The New York Times (7 ต.ค.2519). (2 แผ่น)
-B 4/49 “Thailande II y a six mois le coup d’ Etat…”, International (15 avril 1977). (1 แผ่น)
-B 4/50 “Thailande: Les Prisonniers de Bangkok”, Liberotion (5 mai 1977). (1 แผ่น)
-B 4/51 Support Committee for Chilean Resistance. To the revolutionary fighters, the working class and the people of Thailand. (1 แผ่น)
Thailand’s savage coup. (2 แผ่น)
-B 4/53 The twin failure of a “vagabone theory”. (5แผ่น)
-B 4/54 [Revolution international Workers’ Day]. (34 แผ่น)
-B 4/55 Your tax dollars support torture and repression in Thailand: stop U.S. aid to the Thai dictators!. (2 แผ่น)

B 5 คดี 6 ตุลา
B 5.1 ข่าวหนังสือพิมพ์
B 5.1.1 ในสมัยของนายกธานินทร์ กรัยวิเชียร
-B 5.1.1/2 “รมต. อเมริกัน ‘เฮียริ่ง’ แก่ภาพพจน์ไทยต่อสภามิได้ละเมิดสิทธิมนุษยชน”, เดลินิวส์ (25 ก.ย.2520 – 2 ก.ค.2520).
-B 5.1.1/3 “สรุปสำนวนฟ้องคดี 6 ตุลาฯ เสร็จสิ้นเดือนนี้แน่”, สยามรัฐ (14 ก.ค.2520), สยามรัฐ (8 ก.ค.2520).
-B 5.1.1/4 “ในกระแสแห่งยุติธรรมมา ยากจะหาความเกษมเปรมใจ”, สยามรัฐ (11 ก.ค. 2520).
-B 5.1.1/5 “ปฏิเสธข่าวทารุณ นศ. คดี 6 ตุลา 2519”, เจ้าพระยา (19 ก.ย.2520).
-B 5.1.1/6 “ชวนว่าถ้า นสพ. สู้คดีหมิ่นประมาทก็จะสืบพยานแผนเหตุ 6 ตุลาฯ ได้”, ดาวสยาม (23 ก.ย.2520), สยามรัฐ (30 ก.ย.2520, 20 ก.ค.2520, 4 และ 9 ส.ค.2520).
-B 5.1.1/7 “คดี 6 ตุลาคม อย่างอคติกันเท่านั้น”, สยามรัฐ (29 พ.ย.2520).
“สิทธิมนุษยชน….?”, สยามรัฐ (3 ส.ค.2520).
-B 5.1.1/8 “สิทธิมนุษยชน นักศึกษาหรือผู้ลี้ภัย”, เดลินิวส์ ().
“ค้นได้เอกสาร โจมตีรัฐบาลว่าปิดกั้นเสรีภาพประชาชน”, ไทยรัฐ (17 ส.ค. 2520).
-B 5.1.1/9 “สรุปสำนวนคดี 6 ตุลา แล้ว ฟ้องสุธรรมกับพวก 17 คน”, สยามรัฐ (25 ส.ค. 2520).
-B 5.1.1/10 “ไม่ส่งผู้ต้องหาฟ้องพร้อมสำนวนญาติรอพบผิดหวัง”, ไทยรัฐ (25 ส.ค.2520), เจ้าพระยา (26 ส.ค.2520).
-B 5.1.1/20 “ ‘ธานินทร์’ ไปญี่ปุ่นตอบฝรั่งเรื่อง 18 จลาจลไม่ขัดสิทธิมนุษยชน”, บ้านเมือง (8 ก.ย.2520).
-B 5.1.1/21 “รัฐบาลไม่ทารุณผู้ต้องหาก่อจลาจลโต้ข่าวต่างประเทศ”, บ้านเมือง (8 ก.ย. 2520).
-B 5.1.1/22 “ธานินทร์ โดนประท้วงที่โตเกียว”, บ้านเมือง (9 – 10 ก.ย.2520).
-B 5.1.1/23 “อดีตนายกฯ ปฏิเสธกรณีจับผู้ต้องหา 6 ตุลา”, สยามรัฐ (9 ก.ย.2520).
-B 5.1.1/24 “อยู่ในระหว่างใช้กฎอัยการศึกชี้แจงผู้ต้องหาทั้ง 18 คน ได้รับการดูแลอย่างดี”, ไทยรัฐ (8 ก.ย.2520).
-B 5.1.1/25 “ม.ร.ว. เสนีย์ แฉข้อหาคดี 6 ต.ค. ตั้งไว้ข้อเดียว”, เดลินิวส์ (10 ก.ย.2520).
-B 5.1.1/26 “เจ้ากรมพระธรรมนูญยันคดี 6 ตุลา ข้อหาคอมมิวนิสต์ต้องขึ้นศาลทหาร”, สยามรัฐ (10 ก.ย.2520).
-B 5.1.1/27 “เทศบาลบ้านเมือง”, สยามรัฐ (13 ก.ย.2520).
-B 5.1.1/28 “การพิจารณาคดีจลาจล 6 ต.ค.19”, สยามรัฐ (14 ก.ย.2520).
-B 5.1.1/29 “สุธรรมค้าน! ย้ายไปศาลนนท์”, ไทยรัฐ (17 ก.ย.2520).
-B 5.1.1/30 “ผบ.นครบาลเตรียมรับมือการนัดชุมนุมคดี 6 ตุลา”, บ้านเมือง (28 ก.ย. 2520).
-B 5.1.1/31 “พบแผน นศ. – กรรมกร นัดชุมนุมใหญ่ก่อกวนคดี 6 ตุลา”, เสียงปวงชน (18 ก.ย.2520)
-B 5.1.1/32 “สภาคริสต์ ‘ขับ’ เลขาฐานยุ่งเกี่ยวคดี 6 ตุลา”, ดาวสยาม (18 ก.ย.2520), เจ้าพระยา (17 ก.ย.2520).
-B 5.1.1/33 “ศจ.วิกรม เมาลานนท์ ประธานศาลฎีกาคนใหม่”, เดลินิวส์ (19 ก.ย.2520), ไทยรัฐ (26 ก.ย.2520).
-B 5.1.1/34 “บันทึก”, บ้านเมือง (20, 27 ก.ย.2520).
-B 5.1.1/35 “ยุ่งกับเรื่องของโลกก็ต้องเป็นของโลก!”, สยามรัฐ (20, 22 ก.ย.2520).
-B 5.1.1/36 “ประเทศทิ้งหลักนิติศาสตร์ประชาชนก็ไร้ซึ่งศักดิ์ศรี”, สยามรัฐ (20 ก.ย. 2520).
-B 5.1.1/37 “นศ. ปลุกระดม!: สส.ปฏิรูปยื่นเรื่องให้ทหารจัดการ”, เดลินิวส์ (20 ก.ย. 2520), สยามรัฐ (31 ต.ค.2520).
-B 5.1.1/38 “ให้ฟ้องคดีอาญาในศาลพลเรือน”, ดาวสยาม (23 ก.ย.2520).
-B 5.1.1/39 “คดี 6 ตุลาคม อีกที”, สยามรัฐ (23, 30 ก.ย.2520), บ้านเมือง (20 ต.ค. 2520).
-B 5.1.1/40 โกศล ศรีสังข์. “แถลงการณ์สภาคริสต์จักรในประเทศไทย”, สภาคริสต์จักรในประเทศไทย (31 ส.ค.1977).
-B 5.1.1/41 “อธิการบดีรามฯ กวดขัน นศ. แจกใบปลิว”, สยามรัฐ (26 ก.ย.2520).
-B 5.1.1/43 “ความเห็นชาวบ้านควรยกเลิกคำสั่งของคณะปฏิรูป 9 ฉบับที่ 22 หรือไม่”, สยามรัฐ (4 ต.ค.2520).
-B 5.1.1/44 “ศาลทหารสั่งเลือนพิจารณาคดี 6 ตุลาอีก”, ไทยรัฐ (6 ต.ค.2520), สยามรัฐ (6, 13 ต.ค.2520).
-B 5.1.1/45 “สภาคริสต์ญี่ปุ่นสนับสนุนสภาคริสต์ไทยเรื่องคดี 6 ตุลา”, สยามรัฐ (6 ต.ค. 2520).
-B 5.1.1/46 “ประธานคณะตุลาการศาลทหารเผยคดี 6 ตุลาฯ ศาลจะให้จำเลยประกันตัวหรือไม่อยู่ที่โจทก์”, สยามรัฐ (11 ต.ค.2520), ดาวสยาม (11 ต.ค.2520), เดลินิวส์ (30 ก.ย.2520), ไทยรัฐ (4 ต.ค.2520).
-B 5.1.1/47 ชูศักดิ์ เที่ยงตรง. “แด่ท่านอธิการบดี มธ. ที่รัก”. (1 แผ่น)
สมพร มันตะสูตร. “ประสากวี: จากแสนแสบถึงสามย่าน”, สยามรัฐ (13 ต.ค. 2520).
-B 5.1.1/48 ”ยึดแผนแดงใน มธ. แยกอีสาน”, ดาวสยาม (24 ต.ค.2520).
-B 5.1.1/49 “นศ. สาว “6 ตุลา” มอบตัวสู้คดี”, ดาวสยาม (5 พ.ย.2520).
-B 5.1.1/50 “อภัยโทษกบฏ”, ดาวสยาม (25 ต.ค.2520).
-B 5.1.1/51 “เผยเหตุไม่มีชื่อ อตร. ร่วมปฏิวัตินิรโทษคดี 6 ต.ค. – 26 มี.ค. ‘คิดทีหลัง’”, เดลินิวส์ (25 ส.ค.2520), ดาวสยาม (27 ส.ค.2520, 29 ต.ค.2520).
-B 5.1.1/52 “เกิดใบปลิวเถื่อนโจมตีอธิการบดี มธ. หลัง 6 ตุลา อาจารย์ลาออก 80 กว่าคน”.
-B 5.1.1/53 – 54 “ให้นิรโทษกรรมคดีการเมือง! นศ.วอน “สงัด” ขจัดแตกแยก”, เดลินิวส์ (28 ต.ค.2520).
-B 5.1.1/55 – 57 “ปลัดทบวงมหาวิทยาลัยว่ากรณีข่าว นศ. จะจี้เครื่องบินอาจเป็นเพียงข่าวลือ”, สยามรัฐ (3 พ.ย.2520, 7 พ.ย.2520), ไทยรัฐ (1 พ.ย.2520, 2 พ.ย.2520).
-B 5.1.1/60 “ผลจากประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 25 จำเลยคดี 6 ต.ค. มีสิทธิ์ตั้งทนายได้”, สยามรัฐ (15 พ.ย.2520), บ้านเมือง (11 พ.ย.2520), ไทยรัฐ (9 พ.ย.2520).
-B 5.1.1/62 “เลื่อนคดี ‘6 ต.ค.’ ให้เวลาจำเลยตั้งทนายสู้”, บ้านเมือง (18 พ.ย.2520).
-B 5.1.1/63 “จำเลยคดี 6 ตุลา เผยรู้สึกดีใจที่ให้มีทนาย”, สยามรัฐ (18 พ.ย.2520).
-B 5.1.1/64 “นายกรัฐมนตรีปราศรัยต่อประชาชนเรียกร้องให้หันหน้าเข้าหากัน…”, บ้านเมือง (18 พ.ย.2520).
-B 5.1.1/65 – 66 “คดี 6 ต.ค.ให้ตั้งทนาย”, ไทยรัฐ (11 พ.ย.2520, 18 พ.ย.2520), เดลินิวส์ (11 พ.ย.2520), สยามรัฐ (21 พ.ย.2520).
-B 5.1.1/66 “เจ้ากรมพระธรรมนูญเผยคดี 6 ตุลา ถ้ามีหลักฐานแน่นหนาทนายเก่งก็ดิ้นไม่หลุด”, สยามรัฐ (21 พ.ย.2520).
-B 5.1.1/67 ““ยังเติร์ก” ประกาศอุดมการ จะให้บ้านเมืองอยู่รอดต้องแก้กลไกในเมืองก่อน”, สยามรัฐ (22 พ.ย.2520).
-B 5.1.1/69 “ขอยืนยันอย่างลูกผู้ชายให้รู้ทั่วกันเจตนาแท้จริงไม่ต้องการนองเลือด”, ไทยรัฐ (23 พ.ย.2520).
-B 5.1.1/70 “อาจารย์มหาวิทยาลัยขอนิรโทษกรรมคดี 6 ต.ค.”, สยามรัฐ (24 พ.ย.2520).
-B 5.1.1/71 คึกฤทธิ์ ปราโมช. “ข้างสังเวียน”, (24 พ.ย.2520).
-B 5.1.1/72 “นายกรัฐมนตรีว่า 6 ตุลา ตอนนี้ทำอะไรไม่ได้ต้องรอศาลตัดสินก่อน”, สยามรัฐ (25 พ.ย.2520).
-B 5.1.1/73 มารุต บุนนาค. “ญาติพี่น้องเข้าชื่อยื่นหนังสือถึงนายกรัฐมนตรีขอ ‘นิรโทษกรรม’ ผู้ต้องหาคดี 6 ต.ค.”, (29 พ.ย.2520).
-B 5.1.1/74 “นศ. ที่เข้าป่าเมื่อ 6 ต.ค. “คืนสู่เหย้า” บ้างแล้ว”, (26 พ.ย.2520).
-B 5.1.1/75 “ให้ ดร.ป๋วย กลับไทยได้”, ไทยรัฐ (26 พ.ย.2520).
-B 5.1.1/76 “ชี้ประเด็นนิรโทษจำเลย 6 ต.ค.ได้!”, บ้านเมือง (26 พ.ย.2520).
-B 5.1.1/77 ”นายกฯ ว่าไม่สมควรเข้าไปเกี่ยวข้องการพิจารณาของศาลกรณีผู้ต้องหา 6 ต.ค. กลัวถูกว่าเป็นมวยล้ม”, สยามรัฐ (2 ธ.ค.2520).
-B 5.1.1/79 แก้ว ส.น. “เมืองไทยในยุคของเหตุผลและสะท้อนคดี 6 ตุลาคม”, สยามรัฐ (3 ธ.ค.2520).
-B 5.1.1/80 “นศ. 5 สถาบัน เสนอนายกฯ ช่วยคดี 6 ต.ค.”, ไทยรัฐ (3 ธ.ค.2520).
-B 5.1.1/86 “กลุ่มทนายความ 100 กว่าคน ส่งหนังสือถึงนายกฯ ว่านิรโทษกรรม 6 ตุลา ไม่ก้าวก่ายศาล”, สยามรัฐ (9 ธ.ค.2520).
-B 5.1.1/87 “ชี้นิรโทษกรรมไม่ก้าวก่ายศาลขึ้นอยู่กับนโยบายรัฐ คดี 6 ต.ค. เบากว่ากบฏ 26 มี.ค.”, เดลี่ไทม์ (10 ธ.ค.2520, 13 ธ.ค.2520), ไทยรัฐ (11 ธ.ค.2520).

B 5.1.2 ในสมัยของนายกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์
-B 5.1.2/2 “ข่าวลือ นศ. ก่อเหตุร้าย”, ไทยรัฐ (3 พ.ค.2521): 1, 16.
-B 5.1.2/3 “คดี 6 ต.ค.ซักกันถึงพริกถึงขิง”, ไทยรัฐ (28 ก.ค.2521).
-B 5.1.2/4 “คดี 6 ตุลาคม ทนายจำเลยซัก ‘ดุเดือด’”, ไทยรัฐ (31 ม.ค.2521): 1, 16.
-B 5.1.2/5 “ทนาย ทองใบ ทองเปาด์ เป็นผู้ยื่น จำเลยร่วมปฏิเสธทุกข้อกล่าวหา”.
-B 5.1.2/6 “การพิจารณาคดีกรณี 6 ตุลาคม 2519”, สยามรัฐ (11 ม.ค.2521): 3.
“คดี 6 ตุลา: เราจะกบฏต่อศัตรูของประชาชน”, สยามรัฐ (25 ม.ค.2521).
-B 5.1.2/7 “คดี ‘6 ต.ค.’ ศาลสอบพยาน ‘ลับ’”, บ้านเมือง (7 ก.พ.2521): 1, 16.
-B 5.1.2/8 “ความเห็น ‘สุธรรม’ คดี 6 ต.ค.”, ดาวสยาม (6 ธ.ค.2520).
-B 5.1.2/9 “คำให้การของจำเลย 6 ตุลาฯ”.
“เรียกนักศึกษาออกจากป่าจะสำเร็จได้ก็ต่อเมื่อ…”
-B 5.1.2/10 “ ‘สุธรรม’ ร้องขอออกจากคุกกราบศพแม่”.
-B 5.1.2/11 “เจ้ากรมพระธรรมนูญว่ายังไม่ได้รับคำสั่งรัฐบาลให้ตัดสินคดี 6 ตุลาคม”, สยามรัฐ (21 ธ.ค.2520).
-B 5.1.2/12 “คดี 6 ตุลาคม นโยบายย่อมเหนือกว่าข้อกฎหมาย”.
“ชี้เหตุคดี 6 ตุลา ล่าช้าติดขัดที่ทนายจำเลย”, ไทยรัฐ (20 พ.ค.2521): 2, 3.
-B 5.1.2/13 “ซักค้านคดี 6 ต.ค. พยานถูกกว่า”, ไทยรัฐ (28 ก.พ.2521).
“ศาลอนุญาตพิจารณาคดี 6 ต.ค.เปิดเผย”, ไทยรัฐ (21 เม.ย.2521).
-B 5.1.2/14 “ซักพยานปากสำคัญคดี 6 ตุลา”, ไทยรัฐ (21 เม.ย.2521).
-B 5.1.2/15 “ผู้ต้องหาถูกคุกคามขอให้ศาลคุ้มครอง”, สยามรัฐ (22 ธ.ค.2520).
-B 5.1.2/17 “แด่นิสิตนักศึกษาในป่า”, สยามรัฐ (24 ธ.ค.2520).
-B 5.1.2/18 “ศาลให้เลื่อนคดี 6 ต.ค.”, ไทยรัฐ (17 ม.ค.2521): 16.
“ทนายจำเลยคดี 6 ต.ค.19 ร้องศาลโดนข่มขู่หวั่นโดนฆ่า – ทำร้าย”, บ้านเมือง (17 ม.ค.2521).
-B 5.1.2/19 “นิรโทษ เรื่องรัฐบาลจะทำหรือไม่เท่านั้น”.
-B 5.1.2/20 “ซักค้านกรณีเทมโก้ถีบลงถังแดง”, ไทยรัฐ (24 ม.ค.2521).
-B 5.1.2/21 “ทีเล่นทีจริง”, สยามรัฐ (14 ธ.ค.2520).
-B 5.1.2/23 “นายกฯ สอบเงินฝากปิดปากถุง”.
-B 5.1.2/24 “เพิ่มอีก 1 วัน การพิจารณาคดี 6 ตุลาคม”, ไทยรัฐ (19 ก.ค.2521): 1, 16.
-B 5.1.2/25 “พ.ต.ท. สล้างไปให้การคดี 6 ต.ค.”, ไทยรัฐ (4 ส.ค.2521).
-B 5.1.2/26 “พ.ต.ท. สล้าง “หลบ” สืบพยาน 6 ต.ค.”, ไทยรัฐ (14 ก.ค.2521).
-B 5.1.2/27 “พ.ต.ท.สล้างอ้างช่วย ดร.ป๋วย”, ไทยรัฐ (18 ส.ค.2521).
-B 5.1.2/28 “เยาวชน 2 กลุ่มประจันหน้าสืบพยานคดี 6 ต.ค.”, บ้านเมือง (10 ม.ค.2521): 3.
-B 5.1.2/29 “ร้องเจ้ากรมพระธรรมนูญ “โต้ทนาย” 6 ตุลา อำนาจศาลทหารยังอยู่จำเลยจะพูดยังไงก็ได้”, ดาวสยาม (30 ธ.ค.2520).
-5.1.2/30 – 35 ฤกษ์ดี ณ วังดิน. “โลกของคนคุก”.
-B 5.1.2/36 “ศาลสั่งพิจารณา ‘ลับ’ คดี”, เดลินิวส์ (7 ก.พ.2521): 1, 2.
-B 5.1.2/37 “ศาลสืบพยานปากแรก คดี 6 ตุลา แล้ว”, สยามรัฐ (10 ม.ค.2521).
-B 5.1.2/38 “สั่งรักษาความปลอดภัยในวันพิจารณา ‘คดี 6 ต.ค.’”, สยามรัฐ (16 ม.ค.2521).
“สืบพยานคดี 6 ต.ค.คนเข้าฟังแน่นขนัด”, ไทยรัฐ (10 ม.ค.2521).
-B 5.1.2/39 “สืบพยาน ตร.ถูกยิงคดี 6 ตุลาฯ”, ไทยรัฐ (25 ส.ค.2521).
-B 5.1.2/40 “สืบพยาน พ.ต.ท.สล้าง คดี 6 ต.ค.”, ไทยรัฐ (11 ส.ค.2521).
-B 5.1.2/41 “สุธรรม กับพวกร้องให้ปล่อยระบุอาวุธของกลางถูกยัดให้”.
-B 5.1.2/42 “11 รัฐในอเมริกาส่งเงินช่วยคดี 6 ตุลา”, สยามรัฐ (31 ธ.ค.2520).
-B 5.1.2/43 “จำเลยคดี 6 ต.ค. ขอไปทำบุญศพแม่”.
-B 5.1.2/44 “ห้ามสหภาพแรงงานยุ่ง”, บ้านเมือง (11 ม.ค.2521).
-B 5.1.2/45 “พยาน ‘คดี 6 ตุลา’ ยืนยันคึกฤทธิ์สั่งลุยกรรมกร”, ไทยรัฐ (31 มี.ค.2521).

B 5.2 คำให้การในศาล
B 5.2.1 คำให้การพยานโจทก์ เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของเหตุการณ์ 6 ตุลา
-B 5.2.1/9 – 15 คำให้การพยานโจทก์เกี่ยวกับเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519, คดีดำที่ 253ก/2520. (1 แฟ้ม)
B 5.2.2 คำให้การพยานโจทก์ เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของนักศึกษา
-B 5.2.2/56 พล.ต.ท.สกล สุวรรณา. ความเคลื่อนไหวในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (11 พ.ย.2517). (2 แผ่น)
-B 5.2.2/58 พล.ต.ท.สกล สุวรรณา. การเคลื่อนไหวของนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (27 พ.ย.2518). (3 แผ่น)
-B 5.2.2/59 พล.ต.ท.สกล สุวรรณา. การเคลื่อนไหวของนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง (28 พ.ย.2517). (3 แผ่น)
-B 5.2.2/60 พล.ต.ท.สกล สุวรรณา. การอภิปรายที่ มธ. (12 ธ.ค.2517). (5 แผ่น)
-B 5.2.2/61 พล.ต.ท.สกล สุวรรณา. ผลการสดับตรับฟังการเคลื่อนไหวของนิสิตนักศึกษาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (12 ธ.ค.2518). (3 แผ่น)
-B 5.2.2/62 พล.ต.ท.สกล สุวรรณา. การเคลื่อนไหวของศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย (19 ธ.ค.2518). (9 แผ่น)
-B 5.2.2/63 พล.ต.ท.สกล สุวรรณา. การเคลื่อนไหวของพรรคสัจธรรมใน มหาวิทยาลัยรามคำแหง (22 ธ.ค.2518). (4 แผ่น)
-B 5.2.2/64 พล.ต.ท.สกล สุวรรณา. การเคลื่อนไหวของนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง (24 ส.ค.2518). (6 แผ่น)
-B 5.2.2/65 พล.ต.ท.สกล สุวรรณา. ผลการติดตามการเคลื่อนไหวของนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง (25 ธ.ค.2518). (3 แผ่น)
-B 5.2.2/69 พล.ต.ท.สกล สุวรรณา. การเคลื่อนไหวต่อต้านจอมพลถนอม. (16 แผ่น)
-B 5.2.2/70 พล.ต.ท.สกล สุวรรณา. การเคลื่อนไหวเรียกร้องรัฐธรรมนูญ. (18 แผ่น)

B 5.4 คำร้องของฝ่ายจำเลยหลังขึ้นศาล
-B 5.4/3 – 6 เอกสารคำร้องฝากขังจำเลยในคดี 6 ตุลาคม 2519 (2520).
-B 5.4/11 – 12 อุไร สีอุไรย์. คำร้องฝากขังผู้ต้องหาครั้งที่ 6 (18 ก.พ.2520). (1 แผ่น)
-B 5.4/13 คำให้การแก่พนักงานสอบสวนของธงชัย. (11 แผ่น)
-B 5.4/14 จดหมายถึงเพื่อน. (26 ธ.ค.2519). (3 แผ่น)
-B 5.4/15 ฐานันตโรภิกขุ. ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 (3 ต.ค.2520). (3 แผ่น)
-B 5.4/16 ข้อเท็จจริงก่อนเกิดเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 (17 ต.ค.2520). (3 แผ่น)
-B 5.4/17 สุรินทร์ มาศดิตถ์. ข้อเท็จจริงเหตุการณ์ในวันที่ 6 ตุลาคม 2519 (24 ต.ค.2520). (4 แผ่น)
-B 5.4/18 สุรินทร์ มาศดิตถ์. นโยบายของรัฐบาลพรรคประชาธิปัตย์ (9 พ.ย.2520). (4 แผ่น).
-B 5.4/19 สุธรรม แสงประทุม. เหตุการณ์ 6 ตุลา ถูกบิดเบือน (26 ต.ค.2520). (2 แผ่น)
-B 5.4/21 ญาติผู้ต้องหา 6 ตุลาคม 2519. ข้อความเป็นธรรมในการพิจารณาคดี 6 ต.ค. 2519 (28 ก.ค.2520). (5 แผ่น)
-B 5.4/22 หนังสือร้องขอความเป็นธรรมของญาติผู้ต้องหา 6 ตุลาคม 2519 ถึง ฯพณฯ สุธรรม ภัทราคม ประธานศาลฎีกา (3 ส.ค.2520). (4 แผ่น)
-B 5.4/23 หนังสือร้องขอความเป็นธรรมของญาติผู้ต้องหา 6 ตุลาคม 2519 ถึง ฯพณฯ หะริน หงสกุล ประธานสภาปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน (14 ส.ค.2520). (5 แผ่น)
-B 5.4/24 สมชาย หอมลออ. ขอร้องเรียนเพื่อความเป็นธรรมในการดำเนินคดี 6 ตุลา (22 ส.ค.2520). (2 แผ่น)
-B 5.4/25 เหตุการณ์ค่ำ 5 ตุลา – เช้า 6 ตุลา. (7 แผ่น)

5.5 จำเลยศึกษาประวัติคดีเก่าที่เกี่ยวกับคดี 6 ตุลา
-B 5.5/1 จำเลยศึกษาประวัติคดีเก่าที่คล้ายกับคดี 6 ตุลาคม, คดีดำที่ 4/2519 (9 – 10 มิ.ย.2519). (13 แผ่น)
-B 5.5/2 คำเบิกความที่เกี่ยวกับ พ.ค.ท., คดีดำที่ 4,5/2519 (6 ก.ย.2519). (64 แผ่น)
-B 5.5/3 คำฟ้องคดีดำหมายเลขที่ 12649/2519 (27 ส.ค.2519). (19 แผ่น)
-B 5.5/4 คำฟ้องคดีดำหมายเลขที่ 4418/2520 (22 มี.ค.2520). (9 แผ่น)
-B 5.5/5 คำฟ้องคดีดำหมายเลขที่ 5/2519 (30 ก.ค.2519). (9 แผ่น)
-B 5.5/7 คำให้การพยานโจทก์ (ม.ค. – มี.ค.2520). (78 แผ่น)
-B 5.5/8 คำให้การของนายประสิทธิ์ ไชยทองพันธ์ พยานโจทก์ในคดีนายสุภาพ พัสอ๋อง, คดีหมายเลขดำที่ 12649/2519 (28 ก.ย.2520). (36 แผ่น)
-B 5.5/9 คำให้การของนายประสิทธิ์ ไชยทองพันธ์ พยานโจทก์ในคดีนายสุภาพ พัสอ๋อง,คดีหมายเลขดำที่ 4418/2520 (30 พ.ค.2520). (11 แผ่น)
-B 5.5/10 พยานโจทก์ 4/2519 และ 5/2519 (30 พ.ค.2520). (2 แผ่น)
-B 5.5/11 รายงานกระบวนการพิจารณาคดีอาญาที่ 4/2519 (18 เม.ย.2520). (20 แผ่น)
5.6 จำเลยศึกษาวิธีปฏิบัติตัวในศาล (6 แฟ้ม)
– B 5.6/4 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการซักค้าน (2520?). (6 แผ่น)

B 5.7 เอกสารเพิ่ม
-B 5.7/1 “ส่ง 18 กบฏขึ้นศาล – ระบุโทษประหาร! ขอทนายสู้แต่ไม่มีสิทธิ”, (6 ก.ย.2520).
-B 5.7/2 “ส่ง 18 ผู้ต้องหา 6 ต.ค. ขอสู้คดี คนแห่ฟังแน่นศาลทหาร”, (6 ก.ย.2520).
-B 5.7/3 “ส่ง 18 ผู้ต้องหา 6 ต.ค. ขึ้นศาลทหารแล้วปฏิเสธให้ยกฟ้อง”, (6 ก.ย.2520).
“จำเลย 6 ต.ค. ขอสู้คดี ร้องขอตั้งทนายไม่อนุมัติ”, (6 ก.ย.2520).
-B 5.7/5 “สุธรรมกับพวกสู้คดีว่าศาลทหารไม่มีอำนาจ”, ตะวัน (6 ก.ย.2520).
-B 5.7/6 “คนนับพันแน่นกลาโหม 18 จำเลย 6 ตุลา แย่งศาลทหาร”, เสียงปวงชน (6 ก.ย. 2520).
-B 5.7/8 “บัญชีหมายเลข 1 อาวุธปืน เครื่องกระสุน และวัตถุระเบิด”, รายงานการชันสูตรพลิกศพ กรมตำรวจ (2519).

หมวด D: วารสารและจุลสารภาษาไทย
D 4 ข่าวธงปฏิวัติ
-D 4/ “พลังประชา – อิสรภาพของผู้ต้องหา ‘อ้อมน้อย’”, ข่าวธงปฏิวัติ 9,12 (1 ต.ค.2522): 4 – 6.

D 5 จดหมายข่าวประชาคม
-D 5 “พิทักษ์และสืบทอดเจตนารมณ์ 14 – 6 ตุลา…”, จดหมายข่าวประชาคม 2(ต.ค. – พ.ย.): 5, 8.

D 12 จุลสารนิติศาสตร์
-D 12/1 จุลสารนิติศาสตร์ 3 (ต.ค.2521);
-วีระ มุกสิกพงศ์. “แจกันที่แตกแล้วโดยสมบูรณ์”: 4 – 5.
-เทียนชัย มั่นในธรรม. “โหดหินทมิฬมาร”: 6.
-อิสรา นวรถย์. “หกตุลาหนึ่งเก้า”: 10.
-“ประชา – วีรชน”: 25 – 29.

D 14 จุลสาร ส.น.ม.ร.
-D 14 (1) “14 และ 6 ตุลา ประวัติศาสตร์ที่จารึกด้วยเลือดและน้ำตา”, จุลสาร ส.น.ม.ร. 1(ต.ค.2521): 15 – 23.
D 19 ดาว
-D 19/1 “บันทึกเหตุการณ์นองเลือด 6 ตุลาคม”, ดาว 2(2520): 11 – 23.
-D 19/2 ดอกจอก ใบแหน. “รำลึกวีรกรรมของวีรชน 14 และ 6 ตุลาฯ”, ดาว (ต.ค.2521): 1.

D 21 ดาวเหนือ
-D 21/3 ดาวเหนือ 1,4 – 5(ต.ค. – พ.ย.2522);

D 50 มิตรไทย
-D 50/1 มิตรไทย (1 เม.ย.2520);
-“ข่าว”: 3 – 14.
-“สถานการณ์ทางการเมืองในประเทศไทยภายหลังเหตุการณ์ 6 ตุลา”: 15 – 25.

D 52 เยาว์
-D 52/1 “บทรายงานพิเศษ คดี 6 ตุลา”, เยาว์ 1,1(ม.ค.2521): 3 – 12.
-D 52/2 “รายงานพิเศษพิจารณาคดี 6 ตุลา”, เยาว์ 1,2(ม.ค.2521): 4 – 12.
-D 52/3 เยาว์ 1,3(ม.ค.2521);
-“6 ตุลา ความจริงจะปรากฏ”: 1 – 3.
-“รายงานพิจารณาคดี 6 ตุลา”: 4 – 12.
-D 52/4 “รายงานการพิจารณาคดี 6 ตุลา”, เยาว์ 1,4(ม.ค.2521): 3 – 12.

D 54 รุ่งอรุณ
-D 54 (1 – 2) รุ่งอรุณ 1,3(ต.ค.2522);
-จุฬา, ธิปไตย. “บทนำ: เจตนารมณ์ 14 ตุลาคม และจิตใจ 6 ตุลาคม ปลุกเร้าใจเราตลอดกาล”: 2 – 14.
-จุฬา, ธิปไตย. “ราชดำเนิน: เส้นทางประวัติศาสตร์”: 16 – 19.
-D 54/7 “ขบวนการนักศึกษาปัญหาอยู่ที่ไหน”, รุ่งอรุณ 2,9 (ก.พ.2523): 6 – 18.

D 70 สามัคคีสู้รบ
-D 70/1 ชลธิรา สัตยาวัฒนา. “หญิงไทยใหม่”, สามัคคีสู้รบ 2,3(มี.ค.2521): 42 – 45.
D 73 สำนักข่าวประชาชนตุลาคม
-D 73/1 “ทั่วโลกเคลื่อนไหวการคัดค้านการนำนักศึกษาขึ้นศาลทหาร”, สำนักข่าวประชาชนตุลาคม 26(ก.ย.2520): 3 – 4.
-D 73/2 “ภาวะหวาดระแวงในประเทศไทย”, สำนักข่าวประชาชนตุลาคม 26(ก.ย.2520): 11 – 16.
-D 73/3 สำนักข่าวประชาชนตุลาคม 2,29(ต.ค.2520);
-“กรรมการกลางพรรคสังคมนิยมหนีรอด, เผยรายชื่อพยานคดี 6 ตุลา”: 4 – 5.
-“นักศึกษาออสเตรเลียสนับสนุนศูนย์นิสิตฯ, 6 ตุลาในนิวซีแลนด์, นักศึกษา เอเชียรับรองศูนย์นิสิตฯ, เกรียงกมลส่งสาส์นถึงนักศึกษาเอเชีย”: 7.
-“สัมภาษณ์พิเศษ ชูธง สว่างไทย, ล้างหนี้เลือดหนี้ชีวิตช่วงชิงประชาธิปไตยของประชาชนคืนมา”: 12 – 14.
-D 73/4 “รายงานข่าวอดีตรัฐมนตรีฯ แฉเหตุการณ์หกตุลาคม”, สำนักข่าวประชาชนตุลาคม 31 (พ.ย.2520): 1 – 2.
-D 73/6 “สรุปข่าวต่างประเทศ”, สำนักข่าวประชาชนตุลาคม 35(ม.ค.2521): 8.
-D 73/7 สำนักข่าวประชาชนตุลาคม 35(ม.ค.2521);
-“จดหมายของสุธรรม แสงประทุม”: 12.
-สุรินทร์ มาศดิตถ์. “บันทึกทางการเมืองของสุรินทร์ มาศดิตถ์”: 12 – 13.
-D 73/9 สำนักข่าวประชาชนตุลาคม 55(ต.ค.2521)
-“รายงานข่าวในประเทศ”: 1 – 5.
-“หมายเหตุจากกรุงเทพฯ”: 21.
-D 73/11 ปั่น แก้วมาตย์. “ยืนหยัดต่อไปคือชัยชนะ”, สำนักข่าวประชาชนตุลาคม 5,9(ต.ค. 2523): 14 – 16.

D 78 หินผา
-D 78/1 “บทความพิเศษประชาชนไม่มีวันตาย”, หินผา 1,5(ต.ค.2523): 9 – 10.

D 79 อธิปัตย์
-D 79/1 “เจตนารมณ์วีรชน 14 ตุลาคม และวีรชน 6 ตุลาคม จงเจริญ”, อธิปัตย์ 1,2 (พ.ย. 2520): 36 – 37.
-D 79/3 อธิปัตย์ 1,6 (มี.ค.2521);
-เสน คัดนานต์. “สู้กลางเมือง”: 17 – 20.
-ปรารถนา ช่อชัชวาลย์. “บันทึกวันแห่งความทรงจำของฉัน”: 40 – 42.
-“เปิดประตูคุกให้เพื่อน”: 55 – 58.
-D 79/6 อธิปัตย์ (ต.ค.2521);
-จาตุรงค์ บุณยรัตนสุนทร. “บทนำ นิรโทษกรรม”: 5 – 12.
-“เปิดโปงกลลวงและทำลายแผนการแยกสลายพลังนักศึกษาประชาชนของขุนศึกเกรียงศักดิ์”: 16 – 17.
-“จดหมายของศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทยในสถานการณ์สู้รบปฏิวัติถึงวีรชนและญาติวีรชนในโอกาสครบรอบ2 ปี ของ “กรณีนองเลือด” 6 ตุลาคม”: 18 – 19.
-“6 ตุลา คำฉันท์”: 25 – 27.
– เจิดจันทร์ จรยุทธ. “จดหมายถึงแม่”: 60 – 61.
-D 79/7 “การเคลื่อนไหวของนักศึกษากรรมกรระเบิดเวลาที่รอการปะทุ”, อธิปัตย์ 2,22 – 23(ก.ค. – ส.ค.2522): 9 – 12.
-D 79/10 อธิปัตย์ 3,25(ต.ค.2522);
-ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย. “บทเรียนและหนี้เลือด 6 ตุลาคม ยังจารึกอยู่ในความทรงจำของนิสิตนักศึกษาและประชาชนตลอดกาล”: 5 – 6.
-กาวาง. “บทกวีมหาตุลารำลึก”: 7.

-D 79/11 จาตุรงค์ บุณยรัตนสุนทร. “ศนท. กับการเคลื่อนไหวงานตุลาคมรำลึก”, อธิปัตย์ 3,26 – 27(พ.ย. – ธ.ค.): 50 – 53.

หมวด E: จุลสารภาษาต่างประเทศ
E 1 Asian Student News
-E 1/1 Asian Student News (Jan. – Feb. 1977);
-Puey Ungphakorn. “Violence and the coup d’ etat 6, Oct., 1976”: 1 – 14.
-Kriangkamol Laohapiroj, Ct.al. “Statement by former NSCT leaders after Oct. 6 coup”: 15 – 23.
-National Anti – Fascism Front of Thailand. “Three years of Thai democracy”: 27 – 31.
-“A Thai student offers eyewitness accjount on Oct. 6”: 32 – 34.

-“Thammasat”: 35.
-“The student movement since the Oct. 6 coup”: 36 – 37.
-Thailand Information Center. “Looking for more political prisoners”: 38 – 39.
-E 1/2 Jaturong Boonrat – Suntorn.”A statement from the NSCT leaders six month after the coup”, Asian Student News (Mar. – Apr. 1977): 19 – 21.

E 3 Bulletin Thai Information
-E 3 Bulletin Thai Information 4(Juin – Juillet 1977);
-“La petition des partis de gauche et des sundicats en France”: 6.
-“Linterview exclusif de Puey Ungphakorn (Paris le 30 Avril 1977)”: 7 – 12
-“Six mois apres le coup d’ etat du 6 Octobre 1976 en Thailande: reactions dans le monde”: 21 – 22.

E 13 Thai Bulletin
-E 13 Thai Bulletin 1,3 (Aug. 1977);
-“ Thailand: six months after the coup d’ etat”: 7 – 13.
-Surachart Bumroongsook. “Letters from the imprisoned NSCT leader”: 14 – 15.

E 14 Thai Internation Bulletin
-E 14 /1 Thai Information Bulletin 10(Apr. 1977);
-“Thailand: six months after the coup d’ etat”: 14 – 19.
-“Interview of Mr. Kaisaeng Suksai”: 20 – 28.

เอกสารรายชื่อหนังสือ พ.ค.ท.
หมวด B
-B 63 จุลสาร มธ. เลือดเพื่อที่ไหลรินจักจำไว้ไม่ลืมเลือน: 6 ตุลาคม. กรุงเทพฯ: สโมสร, 2521.
-B 73 รำลึกวีรชนเดือนตุลา (2521);
-“พัฒนาการขบวนการนักศึกษา”: 1 – 4.
-“การเคลื่อนไหวของขบวนการนักศึกษา”: 6 – 7.
-“ความพยายามที่จะกลับมาฟื้นฟูอำนาจของทรราช”: 9 – 11.
-“การเล่นละครที่ลานโพธิ์”: 12 – 13.
-“กรณีนองเลือด 6 ตุลาคม การสังหารประชาชนครั้งใหญ่”: 14 – 17.
-“ผู้ปกครองขัดแย้งแก่งแย่งกันไม่มีที่สิ้นสุด”: 18 – 20.
-“6 ตุลาคม ความจริงที่ต้องปรากฏ”: 21.
-“ขบวนการนักศึกษาจะก้าวรุดหน้าอย่างเข้มแข็ง”: 22.
-B 127 ธเนศวร์ เจริญเมือง. ขบวนการนักศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย, 2517.
-B 166 เสียงจากอดีตจำเลยคดี 6 ตุลาคม เราคือผู้บริสุทธิ์. ม.ป.ท.: กลุ่มนักศึกษากฎหมาย, 2521.
-B 211 บทบาทที่เป็นกองหน้าและสะพานเชื่อมของขบวนการนักศึกษาในการเคลื่อนไหวปฏิวัติ. ม.ป.ท.: ม.ป.พ., ม.ป.ป.
-B238 ขบวนการนักศึกษา อดีต ปัจจุบัน อนาคต ?.

เอกสารรวบรวมจากแหล่งอื่นๆ
มธ. (อ) 2 เอกสารเกี่ยวกับเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 ซึ่งมีการจัดเรียบตามหมวดหมู่ดังนี้
ทมธ. (อ) 2 ความเป็นมาของงาน 20 ปี 6 ตุลาคม 2519
-มธ. (อ) 2/1 ความเป็นมาของงาน 20 ปี 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 (2539)
-มธ. (อ) 2/2 ความหมายของสัญลักษณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 (2539)
-มธ. (อ) 2 /3 คำประกาศ ณ วาระ 20 ปี 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 (2539)
-มธ. (อ) 2 /4 เบื้องหลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 (2539)
-มธ. (อ) 2 /5 กำหนดการงาน “สืบสานปณิธาน 6 ตุลา: แสวงหาอุดมคติให้สังคมไทย 5 – 6 ตุลาคม พ.ศ.2539 (2539)
-มธ. (อ) 2/6 การสัมมนาระดมความคิดเรื่อง ปณิธาน 6 ตุลา ณ โรงแรมเนเชอรัล ปาร์ค รีสอร์ท 27 – 28 มกราคม 2539 (2539)
-มธ. (อ) 2/7 สรุปรายงานผลการสัมมนาระดมความคิดเรื่องปณิธาน 6 ตุลา 27 – 28 มกราคม พ.ศ.2539 (2539)
-มธ. (อ) 2/8 กำหนดการจัดงานครบรอบ 20 ปี 6 ตุลา ณ วัดไทย N.Hollywood (2539)
-มธ. (อ) 2/9 สุนทรพจน์ ฯพณฯ นายบุณเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ ประธานรัฐสภาเนื่องในพิธีกรรม 20 ปี 6 ตุลา ประชาธรรมรำลึก

มธ. (อ) 2.1 การประชุมสัมมนาการเตรียมงาน 20 ปี 6 ตุลาคม พ.ศ.2519
-มธ. (อ) 2.1/1 ปฏิทินกิจกรรมก่อน 5 – 6 ตุลาคม พ.ศ.2539 (2539)
-มธ. (อ) 2.1/2 การสัมมนาวัฒนธรรมรำลึก 20 ปี ตุลา 22 – 24 มีนาคม พ.ศ.2539 (22 – 24 มี.ค. 2539)
-มธ. (อ) 2.1/3 เอกสารประกอบการประชุมเพื่อเตรียมจัดงานรำลึก 20 ปี ตุลา 22 – 24 มีนาคม พ.ศ.2539 ณ โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค (2539)
-มธ. (อ) 2.1/4 รายงานการประชุมคณะกรรมการประสานงาน รำลึก 20 ปี ตุลา (2539)
-มธ. (อ) 2.1/5 ร่างข้อเสนอภาพงาน “จัดลานวัด” รำลึก 20 ปี ตุลา 4 – 6 ตุลาคม พ.ศ.2539 (2539)
-มธ. (อ) 2.1/6 เสวนาโต๊ะกลม ประวัติศาสตร์จากการบอกเล่า (24 – 25 ส.ค. 2539)
-มธ. (อ) 2.1/7 การสัมมนา 20 ปี 6 ตุลา “สิทธิมนุษยชน การใช้ความรุนแรงและแรงงานไทย” (22 ก.ย. 2539)

มธ. (อ) 2.2 การดำเนินงาน
-มธ. (อ) 2.2/1 การดำเนินงานและกิจกรรมคณะกรรมการฝ่ายวิชาการ (2539)
-มธ. (อ) 2.2/2 การดำเนินงานและกิจกรรมคณะกรรมการฝ่ายวัฒนธรรม (2539)
-มธ. (อ) 2.2/3 รายงานการประชุมฝ่ายวัฒนธรรม 12 กุมภาพันธ์ – 18 สิงหาคม พ.ศ.2539 (2539)
-มธ. (อ) 2.2/4 การดำเนินงานฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ 6 – 15 กันยายน พ.ศ.2539 (2539)

-มธ. (อ) 2.2/14 ข่าวประชาสัมพันธ์ CHULA FRIENDS CLUB (2539)
-มธ. (อ) 2.2/15 รายนามที่ปรึกษากิตติมศักดิ์และที่ปรึกษาการจัดงานรำลึก 20 ปี 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 (2539)
-มธ. (อ) 2.2/16 ตอบรับร่วมเป็นองค์กรร่วมจัดงานรำลึก 20 ปี 6 ตุลา (2539)
-มธ. (อ) 2.2/17 ภาระงาน (MISSION) 20 ปี 6 ตุลา (มท.)
-มธ. (อ) 2.2/18 แผนงานงบประมาณงาน 20 ปี 6 ตุลาคม พ.ศ.2539 (5 – 6 ต.ค. 2539)

มธ. (อ) 2.3 โครงการต่างๆ
-มธ. (อ) 2.3/1 โครงการวีดิทัศน์ค้นหาความหมายประวัติศาสตร์เดือนตุลา (2539)
-มธ. (อ) 2.3/2 การเมืองไทยในศตวรรษที่ 21 (2539)
-มธ. (อ) 2.3/3 โครงการที่มีผู้เสนอมาแล้ว (2539)
-มธ. (อ) 2.3/4 โครงการ “WORK SHOP” ละคร 20 ปี 6 ตุลา (2539)
-มธ. (อ) 2.3/5 โครงการ “คอนเสิร์ตเพื่อกองทุน 6 ตุลา 2519” (2539)
-มธ. (อ) 2.3/6 โครงการค่ายเยาวชน “บานไม่รู้โรย” (2539)
-มธ. (อ) 2.3/7 โครงการต้นกล้าประชาธิปไตย (2539)
-มธ. (อ) 2.3/8 โครงการวิจัย “ความรุนแรงในสังคมไทย” (2539)
-มธ. (อ) 2.3/9 โครงการประชุมขบวนการเยาวชนเพื่อสันติภาพ (2539)
-มธ. (อ) 2.3/10 โครงการรำลึก 23 ปี 14 ตุลา 16 “ปฏิรูปการเมืองไทย ประชาธิปไตย ประชาชน” (2539)
-มธ. (อ) 2.3/11 โครงการ “ลำนำเพลง รำลึก 20 ปี 6 ตุลา” วีดีโอรำลึก 20 ปี 6 ตุลา (มท.)
-มธ. (อ) 2.3/12 โครงการเผยแพร่วีดีทัศน์ “ค้นหาความหมายเดือนตุลา” (มท.)
-มธ. (อ) 2.3/13 เบ็ดเตล็ด (2539)

มธ. (อ) 2.4 ประวัติวีรชนผู้เสียชีวิต
-มธ. (อ) 2.4/1 ตามหาญาติมิตร (2519)
-มธ. (อ) 2.4/2 นายจารุพงษ์ ทองสินธุ์ (2519)
-มธ. (อ) 2.4/3 นายไพบูลย์ เลาหจีรพันธ์ (2519)
-มธ. (อ) 2.4/4 นางสาวภรณี จุลละครินทร์ (2519)
-มธ. (อ) 2.4/5 นายมนู วิทยาภรณ์ (2519)
-มธ. (อ) 2.4/8 นายวีระพล โอภาสวิไล (2519)
-มธ. (อ) 2.4/9 นายอนุวัตร อ่างแก้ว (2519)
-มธ. (อ) 2.4/10 นายมนัส เศรียรสิงห์ (2519)

มธ. (อ) 2.5 บันทึกผู้อยู่ในเหตุการณ์และบทกวี
-มธ. (อ) 2.5/1 เขียนไว้ให้ปรากฏ: ความทรงจำในเดือนตุลาคม 2519 ผู้อยู่ในเหตุการณ์ (มท.)
-มธ. (อ) 2.5/2 ความทรงจำประวัติศาสตร์บาดแผล กรณีปราบปรามนองเลือด (ตัดจากหนังสือพิมพ์) (2519)
-มธ. (อ) 2.5/3 ละครฟื้นอดีต ตะวันเพลิง (2517)
-มธ. (อ) 2.5/4 ลิลิตตุลาดูร โครงกลอน (2520)
-มธ. (อ) 2.5/5 สยามจดหมายเหตุ บันทึกข่าวสารและเหตุการณ์ (2516 – 2518)
-มธ. (อ) 2.5/6 บทกวีบนเส้นทางปืนและบทกวีวันฆ่านกพิราบ (มท.)
-มธ. (อ) 2.5/7 เพลงอาจารย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์ (มท.)
-มธ. (อ) 2.5/8 ดนตรีไทยปฏิวัติสัมภาษณ์: ต้นกล้า (มท.)

มธ. (อ) 2.6 ระเบียบมูลนิธิและอื่นๆ
-มธ. (อ) 2.6/1 ระเบียบมูลนิธิ “ตุลาประชาธรรม” ประมวลข้อเสนอในการจัดตั้งมูลนิธิ (2538 – 2539)
-มธ. (อ) 2.6/2 งานผองเพื่อนตุลา (2539)
-มธ. (อ) 2.6/3 เจตนารมย์ห้องประชุมจารุพงษ์ ทองสินธุ์ (2539)
-มธ. (อ) 2.6/4 หอจดหมายเหตุเดือนตุลา (2539)
-มธ. (อ) 2.6/5 แถลงเจตนาการจัดสร้างอนุสรณ์สถาน “ธรรมศาสตร์กับการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย” (2539)
-มธ. (อ) 2.6/6 สรุปรายการรับ – จ่าย บัญชีกอง 6 ตุลาคม (2539)

มธ. (อ) 2.7 หนังสือจัดพิมพ์เนื่องในงาน 20 ปี 6 ตุลาคม พ.ศ.2536
-มธ. (อ) 2.7/1 ตุลากาล (2519)
-มธ. (อ) 2.7/2 เค้าโครงหนังสือเราไม่ลืม 6 ตุลา (2539)
-มธ. (อ) 2.7/3 งานหนังสือตุลากาล (2539)
-มธ. (อ) 2.7/4 ตุลาบรรณ (2539)
มธ. (อ) 2.7/5 เค้าโครงหนังสือ 20 ปี 6 ตุลา (2539)
-มธ. (อ) 2.7/6 ตุลาลัย BLUE OCTOBER (2539)
-มธ. (อ) 2.7/7 ตุลากาล (2539)
-มธ. (อ) 2.7/8 พิเคราะห์หนังสือต้องห้ามของไทย (มท.)

รูปภาพ
-US 21 มีนาคม. จำนวน 2 ภาพ
-รำลึก 12 ปี 14 ตุลา (มท). จำนวน 3 ภาพ
-รำลึก 12 ปี 14 ตุลา (มท). จำนวน 14 ภาพ
-ผู้ต้องหาคดี 6 ตุลา (มท). จำนวน 15 ภาพ
-14 ตุลาคม พ.ศ.2517 (2517). จำนวน 3 ภาพ
-1 ปี 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 งานเลี้ยงคณะปฏิรูป (2519). จำนวน 3 ภาพ

รายการทะเบียนคาสเซทเทป 6 ตุลาคม พ.ศ.2519
-CT 0029 ความเกลียดชังทางการเมืองในสังคมไทย. 1 ม้วน 60 นาที
-CT 0031 – 0035 สัมมนาที่พุเตย “วัฒนธรรมสนทนา 6 ตุลา” ม้วน 1 – 3. 5 ม้วน 60 นาที
-CT 0070 สัมมนาที่พุเตย “วัฒนธรรมสนทนา 6 ตุลา” ม้วน 3. 1 ม้วน 60 นาที
-CT 0093 ประชุมจัดงาน 20 ปี 6 ตุลาคม 2519 ม้วน 1. 1 ม้วน 60 นาที
-CT 0189 ประชุมจัดงาน 20 ปี 6 ตุลาคม 2519 ม้วน 2. 1 ม้วน 60 นาที
-CT 0199 ประชุมจัดงาน 20 ปี 6 ตุลาคม 2519 ม้วน 3. 1 ม้วน 60 นาที
-CT 0205 ประชุมจัดงาน 20 ปี 6 ตุลาคม 2519 ม้วน 4. 1 ม้วน 60 นาที
-CT 0140 – 0141 สังคมนิยมกับสังคมไทย ม้วน 1 – 2. 2 ม้วน 60 นาที
-CT 0224 เหลียวหลังแล 6 ตุลา เหลียวหา นสพ. อธิปัตย์ ม้วน 1. 1 ม้วน 60 นาที
-CT 0227 เหลียวหลังแล 6 ตุลา เหลียวหา นสพ. อธิปัตย์ ม้วน 2. 1 ม้วน 60 นาที
-CT 0545 – 0550 ประวัติศาสตร์จากคำบอกเล่า เหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519. 6 ม้วน 90 นาที

แผ่นดิสเก็ตส์
-“หนึ่งหยาดน้ำในสายธารสังคม” ฤดี เริงชัย (มท). 1 แผ่น
-ต้นกล้า (มท). 1 แผ่น
-“เหตุการณ์ 6 ตุลา อยู่ที่ไหนในประวัติศาสตร์” ฤดี เริงชัย (มท). 1 แผ่น
-ละครสลึงเดียว (มท). 1 แผ่น
-กวีศรีสยาม (มท). 1 แผ่น
-ต้นกล้า ส่วนที่ 3 แผ่น 2 (ไม่มี) (มท). 1 แผ่น
-6 ตุลา ในบันทึกข่าวฝรั่ง คุณดิสฑัต (มท). 1 แผ่น
-6 ตุลา จารุพงษ์ ทองสินธุ์ (มท). 1 แผ่น
-ตุลาบรรณ กุลวดี (วัน) (มท). 1 แผ่น
-ผึ้ง นายกาลเวก (มท). 1 แผ่น
-กังหัน ตุลาบรรณใหม่ (มท). 1 แผ่น

รายชื่อโปสเตอร์งานรำลึก 20 ปี 6 ตุลาคม พ.ศ.2519
-วีรชนและความตาย – จักน้อมพลีชีพนั้นเพื่อมวลชน – ฆ่าคอมมิวนิสต์ไม่บาป. จำนวน 2 แผ่น
-ผู้หญิง: เท่าเทียมหรือด้อยกว่า. จำนวน 2 แผ่น
-ลอบสังหาร. จำนวน 2 แผ่น
-อเมริกา: จักรพรรดินิยมหรือมหามิตร. จำนวน 2 แผ่น
-ม๊อบ. จำนวน 2 แผ่น
-เพลงปลุกใจสอบแบบ. จำนวน 2 แผ่น
-ชาติ: ประชาชนหรือสถาบัน. จำนวน 2 แผ่น
-เรียกร้องสิทธิหรือก่อกวนความสงบ. จำนวน 2 แผ่น
-เปลี่ยนแปลงหรือหยุดนิ่ง. จำนวน 2 แผ่น
-สร้างสรรค์หรืออนุรักษ์วัฒนธรรม. จำนวน 2 แผ่น
-หลากหลายหรือหนึ่งเดียว. จำนวน 2 แผ่น
-สองทศวรรษหลัง 6 ตุลาคม.
-ต่างความคิดผิดถึงตาย. จำนวน 4 แผ่น
-เช้าถึงเย็นของวันสังหารหมู่ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519. จำนวน 2 แผ่น
-เสื้อผ้ากับค่านิยม. จำนวน 2 แผ่น
-14 ตุลา แสดง (ข้อความหาย) ร่วมปฏิรูปการ (ข้อความหาย) (หมายเหตุผ้าโปสเตอร์ฉีกขาด). จำนวน 1 แผ่น
-2519, 6 ต.ค. เกิดอะไรขึ้นที่ มธ. หาคำตอบที่หอใหญ่วันนี้ (ผ้าโปสเตอร์ฉีกขาด). จำนวน 1 แผ่น
-เราไม่ลืมข้อเท็จจริงความเป็นมาและเบื้องหลัง (ผ้าโปสเตอร์). จำนวน 2 แผ่น
-6 ตุลา 6 ตุลาคม. จำนวน 1 แผ่น
-ขับรถทำลายไม่ใช่เรื่องน่าภูมิใจ. จำนวน 1 แผ่น
-รายนามวีรชน 6 ตุลา เท่าที่สืบค้นได้. จำนวน 3 แผ่น
-สัมมนาผู้นำนักศึกษาทั่วประเทศร่วมกำหนดบทบาทต่อการเมืองหลังรัฐธรรมนูญใหม่ ระหว่างวันที่ 12 – 14 ธันวาคม พ.ศ.2540.
-นิทรรศการไปรษณียบัตร 6 ตุลา คุณเขียนมา. จำนวน 2 แผ่น
-บัญชีรายชื่อผู้ต้องหาชาย. จำนวน 2 แผ่น
-แผนที่ “ไทยฆ่าไทย” ที่ธรรมศาสตร์ เมื่อ 6 ต.ค.2519. จำนวน 1 แผ่น
-ไปรษณียบัตรแสดงความคิดเห็น “เราไม่ลืม 6 ตุลา (ร่วมรำลึกถึง จารุพงษ์ ทองสินธุ์). จำนวน 14 แผ่น
-กำแพงวีรชน. จำนวน 1 แผ่น
-ตุลา 39 เปิดฉากสร้างชีวิตให้ประวัติศาสตร์ 6 ตุลา 19 ปัดความมือพ้นฟ้าเมืองไทย และข้อความ “ความพินาศของอดีตสถานะประวัติศาสตร์ 6 ตุลา จากชาญวิทย์ เกษตรศิริ. จำนวน 1 แผ่น
-ตุลา 19 ผู้นำชาวนาถูกฆ่า ตุลา 39 ขบวนการประชาชนถูกปราบ. จำนวน 1 แผ่น
-แด่อุดมการณ์ 6 ตุลา 20 ปี ไม่มีวันมลาย. จำนวน 1 แผ่น
-จารุพงษ์ ทองสินธุ์ บาดแผลไม่จางหายของ 6 ตุลา (จบ). จำนวน 1 แผ่น
-ก่อตั้งมูลนิธิสานปณิธานเพื่อสังคม. จำนวน 1 แผ่น
-การปราบปรามประชาชนในเอเชียจากกวางจูสู่เทียนอันเหมินถึงท่าพระจันทร์. จำนวน 1 แผ่น
-ประวัติการศึกษาของ จารุพงษ์ ทองสินธุ์ 2 เปิดบันทึกของพ่อถึงลูกชาย 3.20 ปี การรอคอยยังไม่สิ้นสุด. จำนวน 12 แผ่น
-ตุลาคม 2519. จำนวน 1 แผ่น
-พลังประชาชนในเกาหลีใต้ที่มีการเคลื่อนไหวเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง การปราบปรามประชาชนด้วยความรุนแรงในกวางจู. จำนวน 1 แผ่น
-หลังละครเลือดปิดฉาก ตุลา 19 – ตุลา 39 ประเทศไทยปลอดขบวนการนักศึกษา?. จำนวน 1 แผ่น
-ยุทธการบานไม่รู้โรย เทียนเล่มน้อยร่วมรำลึก 20 ปี 6 ตุลาคม. จำนวน 1 แผ่น
-ตุลาคม พ.ศ.2539 เปิดฉากสร้างชีวิตให้ประวัติศาสตร์ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 ปัดความมืดพ้นฟ้าเมืองไทย. จำนวน 1 แผ่น
-หยุดความรุนแรงเสียงร้องของคนไทยผ่านไปรษณียบัตร 6 ตุลา การแสดงพลังอย่างสันติ. จำนวน 1 แผ่น
-นกน้อยคืนรังหวนคะนึงถึงอธิปัตย์, กระบอกเสียงนักศึกษายุคก่อนพิราบหวีดบิน. จำนวน 1 แผ่น
-ต่อต้านเผด็จการปกป้องประชาธิปไตย นักศึกษาประชาชนชุมนุมเรียกร้องโดยสงบที่ธรรมศาสตร์ ถูกจับ 3,094 คน ถูกฆ่าเป็นร้อย ถูกใส่ร้ายป้ายสีว่าเป็นพวกทำลายชาติ ศาสน์
กษัตริย์ ถูกไล่ยิง รุมกระทืบ ข่มขืน ฆ่าแขวนคอ เผาทั้งเป็น เหตุการณ์จบลงด้วยรัฐประหาร โดยเผด็จการทหารไม่ใช่ 14 ตุลา แต่นี่คือ 6 ตุลา. จำนวน 1 แผ่น
-ตุลา การ์ตูน. จำนวน 31 แผ่น
-ร่วมนิยามเนื้อหาปฏิรูปการเมืองไทยร่วมสร้างประชาธิปไตย. จำนวน 1 แผ่น
-ด่วนที่สุดร่วมชำแหละนโยบายพรรคการเมือง 14 พฤศจิกายน 2539 ณ หอประชุมเล็ก มธ. จำนวน 1 แผ่น
-20 ปี 6 ตุลา วันฆ่าพิราบขาว. จำนวน 1 แผ่น
-นิทรรศการ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 6 ตุลาเป็นมาอย่างไร. จำนวน 5 แผ่น
-ขอเชิญร่วมอภิปรายเนื่องในวาระครบรอบ 20 6 ตุลา ครั้งที่ 4 “สังคมนิยมกับสังคมไทย”. จำนวน 3 แผ่น
-เทศกาลหนังสามัญชนบนวีถีการเมือง 6 – 15 กันยายน พ.ศ.2539 หอประชุมเล็กมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. จำนวน 3 แผ่น
-หนังสือเทศกาลหนังสามัญชน บนวิถีการเมือง. จำนวน 3 แผ่น
-เกี่ยวกับวีรชน 14 ตุลา. จำนวน 22 แผ่น
-ชีวิตกับความใฝ่ฝัน บรรจง บรรเจิดศิลป์. จำนวน 12 แผ่น
-จารุพงษ์ ทองสินธุ์ บาดแผลไม่จางหายของ 6 ตุลา (1) จารุพงษ์ ทองสินธุ์ บาดแผลไม่จางหายของ 6 ตุลา (จบ).
-พลิกบรรทัด “ตุลากาล” ฟื้นภาพวันวารฝากคำวันนี้เพื่อไม่มี 6 ตุลาในวันรุ่ง.
-ทะนง โพธิ์ อ่าน 5 ปี ของการสูญหายสู่จุดเริ่มต้นการสาบสูญชั่วนิรันดร และข้อความ ผองเพื่อน “รวมพลังเริ่มงาน 20 ปี 6 ตุลา สืบสานงานสร้างสรรค์”.

วีดีทัศน์
วีดีโอ
-V 248 ปณิธาน 6 ตุลา วิถีคนกล้าแห่งยุคสมัย
-V 313 14 ตุลา – 6 ตุลา
-V 324 ปณิธาน 6 ตุลา วิถีคนกล้าแห่งยุคสมัย แม้ 20 ปี ล่วงไป ไม่เคยจางความทรงจำ
-V 335 15 ตุลา

เทปคาสเซ็ท
-CT 0092 ประชุมจัดงาน 20 ปี 6 ตุลา 2519, ม้วน 1 – 4.
-CT 00273 สมศักดิ์ ขวัญมงคล: 6 ตุลาคม 2519, ม้วน 1.
-CT 0296 สมศักดิ์ ขวัญมงคล: 6 ตุลาคม 2519, ม้วน 2.
-CT 0318 – 0324 ประวัติศาสตร์ 6 ตุลา บทบาท พ.ค.ท. กับขบวนการ นศ., ม้วน 1 – 7.
-CT0349 – 0350 สำนึกและความรับรู้ทางประวัติศาสตร์ในสังคมไทยหลังเหตุการณ์ 14 ตุลา, ม้วน 1 – 2.
-CT 0351 – 0352 อาจารย์ป๋วย คนดีที่เหลืออยู่, ม้วน 1 – 2.
-CT 0368 เพลงปลุกใจ ต.ค.19 หลักแผ่นดิน หลักไทย.
-CT 0369 พล.ต.อ.ชุมพล โลหะชาละ เล่าเหตุการณ์ ต.ค.19.
-CT 0370 นายสมัคร สุนทรเวช รายงานข่าว ปชส.ขับไล่ประภาส.
-CT 0371 ชมรมวิทยุเสรี เพลงบางมด ต.ค.19.
-CT 0416 – 0417 วิโรจน์ เอ็ม 16: 6 ตุลาคม 2519, ม้วน 1 – 2.
-CT 0424 – 0425 สมศักดิ์ ขวัญมงคล: 6 ตุลาคม 2519, ม้วน 1 – 2.

เอกสารต้นฉบับพิมพ์
เอกสารในกลุ่มนี้โดยส่วนใหญ่เป็นบันทึกคำบอกเล่าจากการสัมภาษณ์ผู้อยู่ในเหตุการณ์และญาติวีรชน เนื่องในโอกาส “20 ปี 6 ตุลาคม 2519” พ.ศ.2539
-จินดา ทองสินธุ์. สัมภาษณ์ครอบครัวจารุงพงศ์ ทองสินธุ์ (ม.ค.2544).
-เล็ก วิทยาภรณ์. สัมภาษณ์นางเล็ก วิทยาภรณ์ มารดานายมนู วิทยาภรณ์ ผู้เสียชีวิตในเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 (ม.ค.2544).
-อภินันท์ บัวหภักดี. สัมภาษณ์นายอภินันท์ บัวหภักดี (ม.ค.2544).
-สมควร หริกุล. สัมภาษณ์ พล.ต.ท.สมควร หริกุล (ม.ค.2544).
-เซี้ยมเกียง จุลละครินทร์. สัมภาษณ์นางเซี้ยมเกียง จุลละครินทร์ มารดาของ น.ส.ภรณี จุลละครินทร์ ผู้เสียชีวิตในเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 (ม.ค.2544).
-เยื้อ อ่างแก้ว. สัมภาษณ์นายเยื้อ อ่างแก้ว (ม.ค.2544).
-วิทยา แก้วภราดัย. สัมภาษณ์นายวิทยา แก้วภราดัย (ม.ค.2544).
-วิโรจน์ มุทิตานนท์. สัมภาษณ์นายวิโรจน์ มุทิตานนท์ (ม.ค.2544).
-สรรพสิริ วิริยศิริ. สัมภาษณ์นายสรรพสิริ วิริยศิริ (ม.ค.2544).
-โอริสา ไอราวัณวัฒน์. สัมภาษณ์นายโอริสา ไอราวัณวัฒน์ (ม.ค.2544).
-สุดสาย หัสดิน. สัมภาษณ์ พล.ต.สุดสาย หัสดิน (ม.ค.2544).